07 ธันวาคม 2559

ข้อสอบตามตัวชี้วัด ชั้นม.3

แบบทดสอบตามตัวชี้วัด  O-net  2559
สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 ตัวชี้วัด  อธิบายพุทธคุณและข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ  ตามที่กำหนด เห็นคุณค่าและนา ไปพัฒนาแก้ปัญหาของตนเองและครอบครัว ( 1.1 .1/5)
1. ข้อใดไม่ใช่หลักธรรมที่ควรเจริญในการนาสู่หนทางดับทุกข์
1 กรรมฐาน 2
2 สิกขา 3
3 มงคล 38
4 ธาตุ 4
ตัวชี้วัด  วิเคราะห์พุทธประวัติหรือประวัติศาสดำของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด
( 1.1 .2/5)
2. พุทธประวัติของพระพุทธเจ้าเมื่อครั้งผจญมารสามารถนามาเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตได้อย่างไร
1 การจดจ่ออยู่กับอารมณ์ที่น่าปรารถนาทั้งปวง
2 ยินดีในอารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนาทั้งปวง
3 การเอาชนะกิเลสที่เกิดขึ้นในจิตใจของตนได้
4 การมีความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดำและผู้มีพระคุณ
ตัวชี้วัด อธิบายธรรมคุณและข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กำหนด เห็นคุณค่าและนาไปพัฒนาแก้ปัญหาของชุมชนและสังคม ( 1.1 .2/8)
3. การปฏิบัติตนในข้อใดแสดงออกถึงการมีความเข้าใจและเห็นคุณค่าของธรรมคุณอย่างถูกต้อง
1 นาย ก. นาหลักธรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาตนเองและสังคมให้ดียิ่งขึ้น
2 นาย ข. ศรัทธาในอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์พระสาวก
3 นาย ค. มุ่งแสวงหาหลักธรรมใหม่ เพราะมีความเชื่อว่าหลักธรรมในสมัยพุทธกาลไม่สามารถ นามาใช้ได้จริงในสมัยปัจจุบัน
4 นาย ง. ระลึกถึงสิ่งที่น่าปรารถนายินดีอยู่ตลอดเวลา


ตัวชี้วัด วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
ในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรม และความสงบสุขแก่โลก ( 1.1 .3/2)
4. หลักธรรมใดในพระพุทธศาสนาที่มีคุณค่าในการสร้างความสงบสุขให้แก่โลก
1 ปปัญจธรรม ทิฏฐธัมมิกัตถะประโยชน์
2 อิทธิบาท 4 ปัญญา 3
3 ไตรลักษณ์ ขันธ์ 5
4 สาราณียธรรม สังคหวัตถุ
ตัวชี้วัด อธิบายสังฆคุณและข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนา
ที่ตนนับถือตามที่กาหนด ( 1.1 .3/6)
ชาวบ้านแตกตื่น! หลังพบยอดต้นมะพร้าวมีรูปร่างคล้ายพญานาค โผล่ในสวนหลังบ้าน เจ้าของเชื่อเป็นสิ่งนาโชค เพราะทาให้ถูกหวย ชาวบ้านทราบข่าวเลยแห่กันมากราบไหว้ไม่ขาดสาย

5.  จากข้อความสะท้อนให้เห็นว่าพุทธศำสนิกชนขาดหลักธรรมที่ควรนาไปใช้ในการดำเนินชีวิตข้อใด
1 ทิฏฐธัมมิกัตถะ -ประโยชน์ผลมุ่งหมายที่คนทั่วไปปรารถนา
2 ปปัญจธรรม -กิเลสที่เป็นสิ่งขัดขวางไม่ให้ถึงความจริง
3 อุบาสกธรรม -อันอุบาสกอุบาสิกาพึงปฏิบัติเพื่อความเจริญก้าวหน้า
4 มงคล 38 -สิ่งที่ทาให้มีโชค อันเป็นหลักที่นาความสุข ความเจริญมาให้
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดำเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอื่น ๆ
( 1.1 .3/10)
6.  ไม้กางเขน เป็นสัญลักษณ์ของศาสนาคริสต์ที่มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด
1 การทาหน้ำที่พระบุตรของพระเยซู
2 ลักษณะการประหารชีวิตแบบโบราณของชำวยิว
3 การเสียสละชีวิตเพื่อรักษาความดี
4 การเสียสละอันยิ่งใหญ่ของพระเจ้า



ตัวชี้วัด  อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธี พิธีกรรมตามแนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ เพื่อนาไปสู่การยอมรับและความเข้าใจซึ่งกันและกัน   ส 1.2  ม.2/5     
7.  ระยะเวลาในการทอดกฐิน กับการทอดผ้าป่า แตกต่างกันอย่างไร
         1 การทอดผ้าป่าจะทอดในพรรษา ส่วนการทอดกฐินจะกระทาหลังจากออกพรรษาแล้ว
         2. การทอดกฐินจะทอดเวลาใดก็ได้ ส่วนการทอดผ้าป่า จะกระทาหลังจากออกพรรษาแล้ว
     3.  การทอดกฐินจะเริ่มตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 11 จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ส่วนการทอดผ้าป่าจะไม่จากัดเวลา   
     4.  การทอดกฐินจะทอดในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ส่วนการทอดผ้าป่าจะทอดในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11
8. พิธีกรรมการกรวดน้ำหลังจากการทาบุญนั้น สอดคล้องกับหลักธรรมในข้อใด
     1.  ความเพียรพยายาม     2.       ความกตัญญูกตเวที
     3.  อกุศลกรรมบถ           4.       ความเสียสละ
9. การเรียงลาดับหมายเลขหน้าข้อความ เกี่ยวกับขั้นตอนการถวายผ้ากฐินแด่พระสงฆ์ ข้อใดถูกต้อง
         1. พิธีกรกล่าวคาอาราธนาศีล
         2. ประเคนผ้ากฐินแด่พระภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง
         3. เจ้าภาพยกผ้าไตรวางบนแขนทั้งสอง นั่งคุกเข่าประนมมือ หันหน้าไปทางพระพุทธรูป
         4. กล่าวคาบูชาพระรัตนตรัย และกล่าวคาถวายผ้ากฐิน
         5. ผู้ร่วมพิธีถวายเครื่องบริวารกฐินแด่พระสงฆ์
         6 พระสงฆ์สวดอนุโมทนา
         7 ผู้ร่วมพิธีกรรมกรวดน้ำ
         8 เจ้าภาพจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย
                               ก. 3), 1), 5), 4), 2), 6), 7), 8)
                               ข. 1), 2), 3), 4), 5), 6), 7), 8)
                               ค. 8), 1), 3), 4), 2), 5), 6), 7)
                               ง.  1), 3), 4), 5), 2), 6), 7), 8)
ตัวชี้วัด ปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคล ( 2.1 .1/1)
10. สิทธิของผู้บริโภคที่จะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายมีหลายประการยกเว้นข้อใด
1 สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้า-บริการ
2 สิทธิที่จะมีอิสระในการติดตามและสอดส่องพฤติกรรมของผู้ประกอบธุรกิจ
หากถูกละเมิดสิทธิของผู้บริโภค
3 สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหายหากถูกละเมิดสิทธิของผู้บริโภค
4 สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทาสัญญา
ตัวชี้วัด อธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ ( 2.1 .2/1)
11.  สิทธิในข้อใดที่ผู้เยาว์ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมก่อนจึงจะสามารถกระทาได้
1 การจดทะเบียนรับรองบุตร
2 การจดทะเบียนสมรส
3 การรับการให้โดยเสน่หา
4 การทาพินัยกรรมเมื่ออายุครบ 15 ปีบริบูรณ์
ตัวชี้วัด เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ หน้าที่ในฐานะ
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ( 2.1 .2/2)
12. ข้อใดไม่ใช่ผลที่เกิดขึ้นจากการที่สมาชิกในสังคมปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
1 สังคมเกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย
2 สมาชิกในสังคมมีสิทธิเท่าเทียมกันในการเสนอร่างกฎหมายประเภทต่าง ๆ
3 สังคมและประเทศชาติมีการพัฒนาไปได้อย่างมั่นคง
4 สมาชิกในสังคมมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
ตัวชี้วัด วิเคราะห์บทบาท ความสาคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม ( 2.1 .2/3)
13  ข้อใดสรุปบทบาทและความสาคัญของสถาบันศาสนาได้ชัดเจนมากที่สุด
1 เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจและช่วยกล่อมเกลาจิตใจของสมาชิกในสังคม
2 ป้องกัน รักษา และให้ความคุ้มครองสมาชิกในสังคมให้มีความปลอดภัย
3 เป็นแหล่งถ่ายทอดความรู้ ทักษะให้กับสมาชิกในสังคมให้เป็นผู้ที่คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น
4 เป็นองค์ประกอบสำคัญในการสร้างรากฐานทางการเมือง
ตัวชี้วัด อธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศ ในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนาไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน ( 2.1 .2/4)

14. จุดร่วมทางด้านวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียข้อใดที่สามารถนามาสร้างเสริมความสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างกันได้อย่างเหมาะสม
1 ชาติพันธุ์และคติความเชื่อ
2 การรับอารยธรรมจีนและอารยธรรมอินเดีย
3 สภาพภูมิประเทศและทรัพยากรธรรมชำติ
4 ระเบียบวิธีปฏิบัติทางด้านศาสนา
ตัวชี้วัด อธิบายความแตกต่างของการกระทาความผิดระหว่างคดีอาญาและคดีแพ่ง ( 2.1 .3/1)

15. การกระทาความผิดทางอาญาแตกต่างกับการกระทาความผิดทางแพ่งอย่างไร
1 ความผิดทางอาญา คือ การกระทาที่ก่อให้เกิดผลเสียหายระหว่างเอกชนต่อเอกชน
ส่วนความผิดทางแพ่ง คือ การกระทาที่ก่อให้เกิดผลเสียหายระหว่างรัฐต่อรัฐ
2 ความผิดทางอาญา คือ การกระทาที่ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมแต่อย่างใด
ส่วนความผิดทางแพ่ง คือ การกระทาที่สัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อเอกชน
3 ความผิดทางแพ่ง คือ การกระทาระหว่างเอกชนต่อเอกชนที่ไม่มีผลเสียหายต่อสังคมแต่อย่างใด
ส่วนความผิดทางอาญา คือ การกระทาที่ก่อให้เกิดผลเสียหายระหว่างรัฐต่อเอกชน
4 ความผิดทางแพ่ง คือ การกระทาที่ก่อให้เกิดผลเสียหายระหว่างรัฐต่อเอกชนและไม่สามารถ ยอมความกันได้ ส่วนความผิดทางอาญา คือ การกระทาที่ก่อให้เกิดผลเสียหายระหว่างเอกชนต่อ เอกชนด้วยกัน ซึ่งสามารถยอมความกันได้
ตัวชี้วัด อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม ( 2.1 .3/3)
16. แนวทางการเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสมควรมีลักษณะอย่างไร
1 การเลือกรับวัฒนธรรมที่เป็นตัวอย่างทั้งด้านดีและด้านเสีย เพื่อเป็นแบบอย่างการเรียนรู้ของสังคมไทย
2 การเลือกรับวัฒนธรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับศาสนาน้อยที่สุด
3 การเลือกรับวัฒนธรรมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ด้านเศรษฐกิจมากที่สุด
4 การเลือกรับวัฒนธรรมที่มีประโยชน์ต่อตนเองและประเทศชาติ และไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีงาม
ส 2.1 ม.3/4   วิเคราะห์ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งในประเทศ และเสนอแนวคิดในการลดความขัดแย้ง
17.     การกระทาในข้อใด จัดว่าเป็นการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่เหมาะสม
          1.  การเจรจาต่อรอง การไกล่เกลี่ย                           
          2.  ผู้มีอานาจของคู่กรณีดำเนินการตัดสิน
          3.  การอภิปรายหรือการโต้วาทีระหว่างกลุ่ม
          4.  แจ้งความต่อตำรวจให้ดำเนินคดีต่อคู่กรณี

18.     การดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกับข้อใด
    1.  การมีคุณภาพทางการศึกษา
    2.  การมีฐานะทางเศรษฐกิจมั่นคง
    3.  การยึดถือคุณธรรมและหลักธรรม
    4.  การดำรงชีวิตบนพื้นฐานทางสายกลาง
19. นักเรียนมีส่วนร่วมในการป้องกันการทุจริตฉ้อราษฎร์บังหลวงได้อย่างไร
      1.  หามาตรการลงโทษผู้กระทาความผิด
      2.  ประกาศให้คนทั่วไปรู้ถึงการกระทาของเจ้าหน้าที่รัฐที่คดโกงประชาชน
      3.  แจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจเมื่อสงสัยการกระทาของผู้ที่ขาดความซื่อสัตย์
      4.  ร่วมกันสร้างค่านิยมและปลูกจิตสานึกในการปฏิบัติตนด้วยความซื่อสัตย์สุจริต

ตัวชี้วัด อธิบายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน โดยสังเขป ( 2.2 .1/1)

20. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
1 หนึ่งในหลักการสาคัญของรัฐธรรมนูญ คือ ลดการผูกขาดอานาจรัฐ และขจัดการใช้อำนาจ อย่างไม่เป็นธรรม
2  เป็นรัฐธรรมนูญที่ประชาชนออกเสียงรับร่างประชามติครั้งแรก
3  การใช้หลักธรรมาภิบาลในทางการเมืองเป็นเจตนารมณ์เดียวที่สาคัญของรัฐธรรมนูญ
          4  โครงสร้างของรัฐธรรมนูญประกอบด้วย 15 หมวด 309 มาตรา

ส 2.2 ม.2/2   วิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทางการเมือง การปกครองที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน

21. ฉัตรชัย ฟังข่าวจากวิทยุ โทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์หลายฉบับเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางการเมืองไทยในปัจจุบัน   แล้วมาเปรียบเทียบความแตกต่างของข่าวจากสื่อแต่ละประเภท สอดคล้องกับขั้นตอนการเลือกรับข้อมูลข่าวสารในข้อใด
        1 .การรับข้อมูลอย่างเหมาะสม
        2. การรับข้อมูลและเรียบเรียงข้อมูล
        3.การรับข้อมูลและการถ่ายทอดข้อมูล
        4.การรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
22. ชาญ ชอบ และชัย มักจะนาข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเมืองไทยในปัจจุบันมาอภิปรายร่วมกันอยู่เสมอ ต่างคนต่างแสดงเหตุผลแลกเปลี่ยนกัน ไม่ตัดสินใจเชื่อข่าวจากแหล่งข่าวเพียงแห่งเดียว ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกับข้อใด
        1.การรับข้อมูลข่าวสาร
         2.การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร
         3.การถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร
4.การจัดประเภทข้อมูลข่าวสาร
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ เปรียบเทียบระบอบการปกครองของไทยกับประเทศอื่น ๆ ที่มีการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย ( 2.2 .3/2)

23. เพราะเหตุใดความสัมพันธ์ระหว่างประมุขฝ่ายบริหารกับรัฐสภาของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ระบบรัฐสภา จึงมีมากกว่าระบบประธานาธิบดี
1 ประมุขฝ่ายบริหารมีที่มาจากการเลือกของสภา
2 สภามีอำนาจในการยุบสภาเพื่อให้ตำแหน่งประมุขฝ่ายบริหารสิ้นสุดลงได้
3 กฎหมายต่าง ๆ มีที่มาจากการจัดทาและพิจารณาโดยรัฐสภา
4 อำนาจของฝ่ายบริหารขึ้นอยู่กับความมั่นคงของสมาชิกวุฒิสภา
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ประเด็นปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศไทย
และเสนอแนวทางแก้ไข ( 2.2 .3/4)
24. ข้อใดไม่ใช่แนวทางการแก้ปัญหาที่ช่วยส่งเสริมสู่การพัฒนาประชาธิปไตยอย่างยั่งยืน
1 การฝึกฝนตนเองให้มีวิถีการดำเนินชีวิตแบบประชาธิปไตย
2 การยอมรับในระบบอาวุโสมากกว่าการมีความรู้ความสามารถของบุคคล
3 การพยายามเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองตามที่รัฐธรรมนูญได้กำหนดไว้
4 การตระหนักถึงหน้าที่พลเมืองตามที่รัฐธรรมนูญได้กำหนดไว้
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ค่ำนิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชน
และประเทศ ( 3.1 .1/2)
25. พฤติกรรมการบริโภคแบบเสพติดของคนในสังคมปัจจุบัน ก่อให้เกิดผลเสียหลายประการ ยกเว้นข้อใด
1 เกิดค่านิยมบูชาเงินและวัตถุ
2 การหาเงินมาอย่างไม่คำนึงศีลธรรม
3 เกิดการหมุนเวียนของรายได้ในระบบเศรษฐกิจ
4 การใช้ทรัพยากรอย่างเกินความจำเป็น

ตัวชี้วัด อธิบายความเป็นมา หลักการและความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อ สังคมไทย ( 3.1 .1/3)
26. องค์ประกอบในข้อใดไม่สอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1 ความมีเหตุผล
2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
3 ความพอประมาณ
4 การไม่มีเงื่อนไข
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุนและการออม ( 3.1 .2/1)
27. ปัจจัยในข้อใดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจในการลงทุนของประชาชนน้อยที่สุด
1 ขนาดของรายได้ที่เพิ่มขึ้น
2 ภาวะเงินเฟ้อที่ปรับตัวสูงขึ้น
3 อัตราดอกเบี้ยกู้ยืมที่เพิ่มสูงขึ้น
4 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่เพิ่มสูงขึ้น
ตัวชี้วัด อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้ำและบริการ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้ำและบริการ ( 3.1 .2/2)
28. ปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการในข้อใดที่ได้รับผลตอบแทนเป็นดอกเบี้ย
1 ทุน
2 ที่ดิน
3 แรงงาน
4 ผู้ประกอบการ
อธิบายความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ รวมทั้งกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ
 ( 3.1 .3/1)
29. การศึกษาเรื่องกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ มีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตประจาวันอย่างไร
1 ทาให้สามารถพิจารณาปัจจัยในการกาหนดอุปสงค์ได้
2 ทาให้สามารถแยกกลไกราคาออกจากอุปสงค์และอุปทานได้
3 ทาให้ทราบว่าการซื้อขายแลกเปลี่ยนจาเป็นต้องกระทาในตลาดที่มีสถานที่จริงเท่านั้น
4 ทาให้มีการเตรียมพร้อมทางการเงินให้ทันกับสภาวะกลไกราคาที่เปลี่ยนแปลง



ตัวชี้วัด วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์ ( 3.1 .3/3)

30. ข้อใดอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์ที่สอดคล้องกันไม่ถูกต้อง
1 เน้นการพึ่งพาตนเองเป็นหลักและลดการพึ่งพาคนอื่นลง
2 สร้างเสริมความเอื้ออาทรและช่วยเหลือพัฒนาชุมชนให้เจริญก้าวหน้า
3 ใช้เศรษฐกิจแบบทุนนิยมในการพัฒนาประเทศให้เกิดการขยายตัวที่ก้าวหน้า
4 ส่งเสริมการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นให้สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตย
ตัวชี้วัด วิเคราะห์บทบาทหน้ำที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภท
และธนาคารกลาง ( 3.2 .1/1)
31. ข้อใดสรุปบทบาทหน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทยไม่ถูกต้อง
1 ระดมเงินฝากจากประชาชนรายย่อยและนาเงินเหล่านั้นไปหาประโยชน์โดยการให้กู้ยืม
2 การให้รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจกู้ยืมหลักทรัพย์
3 การจัดพิมพ์ธนบัตรใหม่และทาลายธนบัตรที่ชำรุด
4 ควบคุมดูแลการขยายสาขาของธนาคารพาณิชย์
ตัวชี้วัด อภิปรายผลของการมีกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา ( 3.2 .1/4)
32. การมีกฎหมายคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาส่งผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศอย่างไรมากที่สุด
1 แรงงานภายในประเทศมีรายได้เพิ่มมากขึ้น
2 เศรษฐกิจของประเทศเกิดภาพลักษณ์ที่ดี ต่างชาติให้ความไว้วางใจในการค้าขาย
3 ผู้บริโภคมีจิตสานึกที่ดีในการบริโภคสินค้าที่ถูกลิขสิทธิ์
4 ผู้ผลิตสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของตนเองได้มากกว่าเดิม
ตัวชี้วัด อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ ( 3.2 .2/1)
33. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมแตกต่างกับระบบเศรษฐกิจแบบผสมในเรื่องใด
1 ระบบการสาธารณูปโภค
2 กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
3 ปัญหาการทุจริต
4 เสรีภาพของผู้บริโภค



ตัวชี้วัด อภิปรายบทบาทความสำคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ( 3.2 .3/3)
34. “GMS -EC” เป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับอนุภูมิภาคในทวีปเอเชียที่ประเทศไทย
เข้าไปมีบทบาทสำคัญอย่างไร
1 เป็นความร่วมมือกันของ 6 ประเทศในแถบลุ่มน้ำโขงเพื่อพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
และสร้างโอกาสการแข่งขันในเวทีการค้าโลก
2 เป็นความร่วมมือของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งหมด
ที่มุ่งเน้นการลดอัตราภาษีนาเข้าสินค้ำ
3 เป็นความร่วมมือของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกที่ต้องการพัฒนาตนเอง
ให้อยู่ในฐานะของประเทศพัฒนาแล้ว
4 เป็นความร่วมมือของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และภูมิภาคเอเชีย
ที่มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการแก้ไขข้อพิพาททางการค้าระหว่างสมาชิก
ตัวชี้วัด อภิปรายผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด ( 3.2 .3/4)
35. บุคคลกลุ่มใดได้รับผลกระทบเชิงลบในภาวะเงินเฟ้อมากที่สุด
1 ผู้ประกอบการ ลูกหนี้
2 ผู้มีรายได้ประจา เจ้าหนี้
3 รัฐบาล ผู้ที่มีรายได้จากดอกเบี้ย
4 พ่อค้า ผู้ผลิต
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ผลเสียจากการว่างงาน และแนวทางแก้ปัญหา ( 3.2 .3/5)
36. การว่างงานส่งผลเสียต่อฐานะการคลังของรัฐบาลอย่างไร
1 งบประมาณในการพัฒนาประเทศมีเพิ่มมากขึ้น
2 รัฐบาลเก็บภาษีได้น้อยลง
3 สถาบันการเงินเกิดภาวะหนี้เสีย
4 โครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศเกิดการเปลี่ยนแปล
ตัวชี้วัด วิเคราะห์สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศ ( 3.2 .3/6)
37. การตั้งกาแพงภาษีจากสินค้านาเข้าในอัตราที่สูง เป็นการคุ้มกันตลาดสินค้าภายในประเทศได้อย่างไร
1 เกิดการกำหนดโควตาปริมาณสินค้านาเข้าไม่ให้เกินปริมาณที่กำหนด
2 วัตถุดิบที่นาเข้ามาเพื่อการผลิตสินค้าส่งออกมีราคาถูกลง
3 ผู้บริโภคหันมาซื้อสินค้าที่ผลิตภายในประเทศเพิ่มขึ้น
4 องค์การการค้าโลกเข้ามาแทรกแซงเพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ผลิตภายในประเทศ

ตัวชี้วัด ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ ( 4.1 .2/1)
38. การศึกษาภูมิหลังของผู้บันทึกหลักฐานมีประโยชน์อย่างไรต่อการประเมินความน่าเชื่อถือ
ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
1 ทาให้ข้อมูลของผู้บันทึกมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์มากขึ้น
2 ทาให้ผู้ประเมินหลักฐานเกิดความรู้สึกคล้อยตามผู้บันทึก
3 ทาให้ทราบวิธีการในการบันทึกหลักฐาน
4 ทาให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ในการบันทึกหลักฐาน
ตัวชี้วัด วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผล
ตามวิธีการทางประวัติศาสตร์ ( 4.1 .3/1)
39. วิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนใด มีความสำคัญต่อการศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์มากที่สุด
1 การสรุปและเชื่อมโยงข้อเท็จจริง
2 การรวบรวมหลักฐาน
3 การนาเสนอข้อเท็จจริง
4 การวิเคราะห์ การตีความ และการประเมินหลักฐาน
อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ( 4.2 .1/1)
40. ผลดีที่เกิดขึ้นกับประเทศต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จากการถูกยึดครองเป็นอาณานิคม
ของชำติตะวันตก คือข้อใด
1 ก่อให้เกิดความรู้สึกชาตินิยมร่วมกันของประชาชนในประเทศต่าง ๆ
2 ประชำชนในภูมิภาคมีสิทธิและเสรีภาพเท่าเทียมกัน
3 ประชาชนในภูมิภาคมีรายได้เพิ่มมากขึ้นจากการที่ชาติตะวันตกนาระบบกสิกรรมมาบังคับใช้
4 สถาบันการเมืองการปกครองรูปแบบเดิมได้รับการสนับสนุนให้มีความเข้มแข็งขึ้น





ตัวชี้วัด ระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย ( 4.2 .2/2)
41. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย
1 เป็นสิ่งที่สร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในภูมิภาคเอเชีย
2 เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถของผู้ปกครองในภูมิภาคเอเชียที่แตกต่างกับชำติตะวันตก
3 เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นว่าชนชำติในเอเชียเป็นชนชาติที่มีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์มาช้านาน
4 เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นว่าภูมิภาคเอเชียเป็นศูนย์กลางความเจริญด้านอารยธรรมมาตั้งแต่ สมัยโบราณ
ส 4.2  ม.3/2  วิเคราะห์ผลของการเปลี่ยนแปลงที่นาไปสู่ความร่วมมือ และความขัดแย้งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตลอดจนความพยายามในการขจัดปัญหาความขัดแย้ง
 42.   สงครามเย็นมีความคลี่คลายลงได้ โดยไม่มีการเผชิญหน้ากัน เนื่องจากสาเหตุใด
       1.  สหประชาชาติส่งเสริมการใช้พลังงาน            
       2.  การส่งกองกาลังสหประชาชาติไปช่วยคูเวตทาสงครามกับอิรัก
       3.  สหประชาชาติมุ่งแก้ไขปัญหาความอดอยากในประเทศกาลังพัฒนา
       4.  เกิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจในประเทศที่มี  ความแตกต่างทางการเมืองและเศรษฐกิจ

  43.  ข้อใด ไม่ใช่สาเหตุของปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศในโลกปัจจุบัน
       1.  ความแตกต่างระหว่างชาติพันธุ์
       2.  ความขัดแย้งเนื่องมาจากความแตกต่างทางศาสนา
       3.  การเข้าแทรกแซงประเทศอื่น เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ     
       4.  ความต้องการครอบครองดินแดนที่มีทรัพยากรน้ำมันของชาติมหาอำนาจ
ตัวชี้วัด วิเคราะห์อิทธิพลของวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย และสังคมไทยใน ปัจจุบัน ( 4.3 .1/3)
   44. วัฒนธรรมในสมัยสุโขทัยข้อใดที่คนในสังคมไทยปัจจุบันควรนามาเป็นแบบอย่าง
ในการดำเนินชีวิตประจาวัน
1 การสร้างสรรค์งานศิลปกรรม
2 การปฏิบัติตนอยู่ในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
3 การแต่งกาย
                   4 การประดิษฐ์ลายสือไทย
ส 4.3  ม.2/2    วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา
45. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับวัฒนธรรมในสมัยอยุธยา
         1. อาชีพหลักในสมัยอยุธยาคือเกษตรกรรม ประเพณี  ส่วนใหญ่จึงเกี่ยวข้องกับการเกษตร
         2. วัฒนธรรมส่วนใหญ่ในสมัยอยุธยามักเกี่ยวข้องกับชนชั้นสูงเป็นหลัก
         3. วัฒนธรรมจากต่างชาติไม่ได้รับการยอมรับจากคนในกรุงศรีอยุธยา
         4. ชาวอยุธยานิยมความสนุกสนานจึงมักสร้างสรรค์    ประเพณีที่รื่นเริง
46. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยามีหลายประการ ยกเว้นข้อใด
         1. การติดต่อกับชาวต่างชาติ
         2.  ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
         3.  ลักษณะทางภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
          4.  การมีรายได้จากการเก็บภาษีบางประเภท

ตัวชี้วัด วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัย
อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ในด้านต่าง ๆ ( 4.3 .1/3) ( 4.3 .2/2) ( 4.3 .3/2)
47. ข้อใดมิได้จัดเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยสมัยรัตนโกสินทร์
1 ที่ตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์
2 การไม่มีศึกสงครามตั้งแต่สถาปนาอาณาจักรจนถึงปัจจุบัน
3 ความมั่นคงของสถาบันกษัตริย์
          4 การรับอารยธรรมจากอยุธยา และธนบุรี
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ และอิทธิพลต่อการพัฒนาชำติไทย ( 4.3 .3/3)

48. โครงการต่าง ๆ อันเนื่องมาจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ที่ทรงนาภูมิปัญญาไทยมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยี ก่อให้เกิดการพัฒนาชาติไทยอย่างไร
1 ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้และเกิดการพัฒนาในด้านต่าง ๆ อย่างยั่งยืน
2 ประเทศไทยได้รับยกย่องให้เป็นศูนย์กลางการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3 รัฐบาลเล็งเห็นถึงความสำคัญของแนวพระราชดำริ
          4 โบราณวัตถุและโบราณสถานได้รับการฟื้นฟูและดูแลให้อยู่ในสภาพที่ดี



ตัวชี้วัด อธิบายเส้นแบ่งเวลาและเปรียบเทียบวัน เวลาของประเทศไทยกับทวีปต่าง ๆ ( 5.1 .1/2)
49. ถ้ำหากจะเดินทางโดยเครื่องบินจากประเทศบราซิลไปมัลดีฟส์ในวันที่ 20 ธันวาคม โดยผ่านลองจิจูดที่ 180 องศา ข้อความใดกล่าวถึงเหตุการณ์ดังกล่าวได้ถูกต้องมากที่สุด
1 จะเดินทางถึงมัลดีฟส์ในวันที่ 21 ธันวาคม
2 จะเดินทางถึงมัลดีฟส์ในวันที่ 20 ธันวาคม
3 จะเดินทางถึงมัลดีฟส์ในวันที่ 19 ธันวาคม
4 จะเดินทางถึงมัลดีฟส์ในวันที่ 22 ธันวาคม
ตัวชี้วัด วิเคราะห์เชื่อมโยงสาเหตุและแนวทางป้องกันภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ( 5.1 .1/3)
50. แนวทางป้องกันและแก้ไขภัยธรรมชาติในข้อใดไม่สัมพันธ์กัน
1 ภาวะโลกร้อน รักษาความสมดุลของแก๊สเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ
2 สึนามิ ขณะอยู่ในเรือให้รีบนาเรือเข้าชายฝั่งให้เร็วที่สุด
3 เอลนีโญ ใช้พลังงานทดแทนที่ไม่ก่อให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
4 แผ่นดินไหว อยู่ให้ห่างจากเสาไฟฟ้าหรือสิ่งปลูกสร้างที่มีโครงสร้างไม่แข็งแรง

ส 5.1  ม.2/1  ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา
51. การนาเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์แบบบรรยาย ควรมีลักษณะอย่างไร
         1.  มีภาพจานวนมากเพื่อสื่อความหมายให้ชัดเจน     
         2.  บรรยายขยายข้อมูลและมีภาพประกอบ
         3.  ใช้ข้อความสั้นๆ กระชับ
         4.  บรรยายอย่างละเอียด
52. การนาเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์แบบแผนภูมิ จะทาให้ง่ายต่อความเข้าใจในเรื่องใด
         1.  การเคลื่อนไหวของข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงเสมอ
         2.  การเปรียบเทียบในแต่ละเรื่องหรือแต่ละส่วน
         3.  ความรู้พื้นฐานทั่วไป
         4.  ตัวเลขจานวนมาก
 53.    การใช้ข้อมูลจากเว็บไซต์ที่มีคุณภาพ สามารถเลือกได้จากหลายแหล่งข้อมูล ยกเว้นข้อใด
         1.  องค์กรที่ดูแลรับผิดชอบในเรื่องนั้น
         2.  สถาบันทางการศึกษา
         3.  บุคคลที่มีชื่อเสียง
         4.  หน่วยราชการ

54. การนาเสนอข้อมูลพื้นที่ของทวีปยุโรปที่มีความอุดม-สมบูรณ์ ควรนาเสนอในรูปแบบใด
         1.  แบบแผนภูมิ          2.  แบบแผนที่
         3.  แบบตาราง           4.  แบบกราฟ
55. โหน่งและเพื่อนๆ ต้องการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทรัพยากรธรรมชาติ และสังคมวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ควรใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในข้อใด
         1.  ใช้เครื่องมือหลากหลายผสมกัน
         2.  เว็บไซต์
         3.  ลูกโลก
4.  แผนที่
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่ำงลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา
( 5.1 .2/2)
56. ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกาส่งผลต่อลักษณะทางสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปอย่ำงไร
1 ทวีปแอฟริกายังคงรักษำรูปแบบสังคมแบบดั้งเดิมไว้ได้โดยไม่รับอิทธิพลจากชำติอื่น
2 สังคมแบบดั้งเดิมของทวีปแอฟริกาได้สูญหายไปพร้อมกับการเข้ำมาของชำติตะวันตก
3 ทวีปแอฟริกามีลักษณะทางสังคมที่แบ่งเป็น 2 ลักษณะคือสังคมแบบดั้งเดิมและสังคมแบบตะวันตก
4 การดำเนินชีวิตของคนในสังคมของทวีปแอฟริกาถูกควบคุมด้วยอานาจของชำวพื้นเมืองเดิมทั้งหมด
ส 5.1        ส 5.1 ม.3/1       ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ            และสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
    58. เขตเทือกเขาหินใหม่ของทวีปอเมริกาเหนือจะอยู่ใน
    บริเวณใดของทวีป
       1. ตะวันออก              
       2.    ตะวันตก 
       3. เหนือ                     
          4.            ใต้


59.เขตหินฐานทวีปคะเนเดียนของทวีปอเมริกาเหนือจะอยู่ในบริเวณใด
          1.  รอบอ่าวฮัดสัน                                       
          2.  รอบอ่าวเม็กซิโก
         3. คาบสมุทรแลบราดอร์
          4.  เทือกเขาแอบพาเลเชี่ยน
60.   เขตที่ราบใหญ่หรือเกรตเพลน (Great Plains) มีพื้นที่
    ครอบคลุมบริเวณในข้อใด
   1. บริเวณตอนกลางของประเทศแคนาดา
   2. ชายฝั่งมหาสมุทรทางด้านตะวันออกทั้งหมด
   3. บริเวณชายฝั่งตะวันตกของทวีปตลอดแนวยาวเหนือลงใต้
   4. ชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติกทางตอนบนของทวีปจนถึงอเมริกากลาง
61.   ทาไมบริเวณคาบสมุทรแลบราดอร์จึงมีลักษณะเว้าแหว่ง  และเป็นแบบฟียอร์ด (Fjord)
       1. ถูกธารน้ำแข็งครูดจนสึกกร่อน
       2. กระแสลมที่พัดผ่านอย่างรุนแรง
       3. เกิดจากการทรุดตัวของเปลือกโลก
       4. ภัยธรรมชาติจากแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด
5.1  ม.3/2           วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้



62. กลุ่มประเทศใดที่เป็นผู้เลี้ยงสัตว์รายใหญ่ของทวีป
    อเมริกาเหนือ
        1.   แคนาดา คอสตาริกา
        2.   สหรัฐอเมริกา คิวบา ปานามา
        3.   สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก แคนาดา
        4.   แคนาดา ประเทศในกลุ่มแคริบเบียน
63. เพราะเหตุใด การทาประมงจึงเป็นอาชีพสำคัญของทวีป
    อเมริกาเหนือ
        1 .  เพราะมีเทคโนโลยีอันทันสมัยจึงทำให้จับปลา ได้มาก
        2.   เพราะมีชายฝั่งทะเลที่มีแนวยาวอยู่ในภูมิอากาศอบอุ่น
        3.   เพราะทุกประเทศในทวีปมีอาณาเขตติดต่อกับ ทะเล
        4.   เพราะมีแหล่งปลาชุกชุมในบริเวณชายฝั่งตะวันออกของทวีป

64. เพราะเหตุใด ประเทศในแถบอเมริกากลางและแถบทะเลแคริบเบียนจึงมีอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ค่อนข้างน้อย
        1.   เพราะขาดแคลนทุนและเทคโนโลยียังไม่ก้าวหน้า
        2.   เพราะขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ
        3.   เพราะมีพื้นที่น้อยเกือบทุกประเทศ
        4.   เพราะประชาชนมีการศึกษาน้อย


65. กลุ่มประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ คือข้อใด
        1.   สหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก
        2.   สหรัฐอเมริกา คิวบา ปานามา
        3.   แคนาดา เม็กซิโก ปานามา
        4.   แคนาดา คิวบา เม็กซิโก
ส 5.2   ม.1/2   วิเคราะห์ความร่วมมือของประเทศต่างๆ ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติของทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย

66.  ถ้ารัฐบาลไทยจะสร้างเส้นทางรถไฟความเร็วสูง เส้นทางใดมีอุปสรรคในการสร้างมากที่สุด
      1. กรุงเทพฯ เมียนมาร์ จีน
      2. กรุงเทพฯ มาเลเซีย สิงคโปร์
      3. กรุงเทพฯ กัมพูชา บรูไน
      4. กรุงเทพฯ ลาว เวียดนาม
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลต่อการเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สินค้ำ และประชากรในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ( 5.2 .1/4)

67. ข้อใดสรุปปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อการเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สินค้า และประชากร ในทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนียได้ถูกต้องมากที่สุด
1 การให้สิทธิและเสรีภาพของบุคคลอย่างเท่าเทียมกัน
2 การมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์
3 การมีลักษณะภูมิประเทศใกล้ชายฝั่งที่มีการขนส่งสินค้ำ
         4 การผสานวัฒนธรรมดั้งเดิมเข้ากับวัฒนธรรมภายนอกที่เข้ามาใหม่อย่างไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง



ตัวชี้วัด วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง ธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา ( 5.2 .2/1)

68. ข้อใดเป็นสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมที่ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของประชาชนในทวีปยุโรปทั้งหมด
1 แหล่งผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมเมืองปาร์มเมอสตันนอร์ท เดอะเวิลด์
2 ลอนดอนอาย สะพานมิลโล
3 ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอน สนามกีฬาซิดนีย์โอลิมปิกพาร์ก
         4 เกาะปาล์มจูเมอิราห์ สนามกีฬาเดอร์บัน
ส 5.2  ม.2/2  ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรปและแอฟริกา
69. ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ข้อใดในทวีปแอฟริกาที่ส่งผลกระทบต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรมของประชากรมากที่สุด และไม่สามารถควบคุมได้
         1. พื้นที่ความหลากหลายทางชีวภาพถูกบุกรุก
         2.  การขยายตัวของพื้นที่ทะเลทราย
         3.  สภาพอากาศที่แปรปรวน
         4.  พื้นที่สีเขียวถูกทำลาย
70. บริเวณใด เป็นย่านชุมชนของชาวจีน
         1. คาร์ทูม   โอมเดอร์มัน
         2. เคปทาวน์   พริทอเรีย
         3. โกตดิวัวร์   อาบิดจัน
         4.  ยาอุนเค   ดูอาลา

71. บริเวณใดต่อไปนี้ ที่ยังคงความหลากหลายทางชีวภาพ สูงมากแห่งหนึ่งของโลก
         1.  ทะเลสาบวิกตอเรีย-เคนยา
         2.  ลุ่มแม่น้ำไนเจอร์-ไนเจอร์
         3.  ป่าฝนเขตร้อน-คองโก
          4.   ลุ่มแม่น้ำไนล์-อียิปต์



ตัวชี้วัด วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมใน ทวีปยุโรปและแอฟริกา( 5.2 .2/4)
72. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปแอฟริกาส่งผลกระทบในเชิงลบต่อประเทศไทยน้อยที่สุดคือข้อใด
1 การส่งออกสินค้า
2 การพังทลายของดิน
3 การเกิดโรคติดต่อ
         4 ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ
ตัวชี้วัด วิเคราะห์เหตุผลและผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อประเทศไทย ( 5.2 .2/4) ( 5.2 .3/4)

73. นโยบายการรักษาสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาประเทศในทวีปอเมริกาเหนือก่อให้เกิดผลกระทบ ทางด้านการส่งออกสินค้าของประเทศไทยอย่างไร
1 ต้นทุนการผลิตสินค้าของประเทศไทยเพิ่มสูงขึ้น
2 ผู้ผลิตต้องจ้างแรงงานไร้ฝีมือเพิ่มมากขึ้น
3 เกิดการลงทุนของผู้ประกอบการไทยในทวีปอเมริกาเหนือลดน้อยลง
          4 ผู้บริโภคให้ความนิยมสินค้าที่ผลิตในประเทศไทยลดน้อยลง